Tiffany Singh
Her interest in cultural preservation combined with a integrated social discourse has seen her use the arts as a vehicle for education, outreach & empowerment. Singh has worked at scale both in New Zealand & internationally. Her works often suggest positive impact by guiding audiences through fine art frameworks to engender policy & advocacy of social cohesion. Her practice is informed by eastern philosophy & social ethics that affect well-being to foster unique art & social impact outcomes.
She has represented New Zealand at the 18th Biennale of Sydney 2012, the Contemporary Asian Arts Biennial 2011 at the National Taiwan Museum of Fine Arts and the 12th Taewha Eco Arts Festival in Korea in 2018.
Check out her full repertoire of work at her website here.
The Pink Period
New Zealand born artist Tiffany Singh’s multi-disciplinary approach centered around arts, education and well-being. Her three-month residency elevated Bangkok 1899 as an immersive Social Practice hub, exemplifying a new contemporary art paradigm to enable women artists, who are also mothers, to live and work in a supportive residency environment.
The content explored the challenges faced by respected women artists, paired with research and development on traditional practice. These factors combine to create works that speak from the traditional to the contemporary within a fine art context.
From multiple collaborations with other women artists, Singh mapped out factors that affect how women participate in various artistic disciplines. These relationships provided a narrative around the history, identity and technical skills related to the production of so-called “women’s” work. Through performative aspects and subtle gestures, The Pink Period provided an opportunity to learn about, and to address issues that affect women artists.
Singh developed this concept through the collaborative project Women’s Art Project Asia during her residency at Taipei Artist Village (Taiwan). For The Pink Period, she invited Taiwanese artist Jui-Pin Chang to build upon their existing research to delve further into societal expectations, family obligations and being classified as a minority voice within the art world.
︎
ศิลปินสัญชาตินิวซีแลนด์ ทิฟฟานี ซิงห์ มีความสนใจในศาสตร์หลายแขนง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสาขาศิลปะ การศึกษา และความเป็นอยู่ ตลอดระยะเวลาสามเดือนที่ทิฟฟานีเป็นศิลปินในพำนักนั้น เธอได้ช่วยการยกระดับ และเปลี่ยนแปลง Bangkok 1899 ให้มีบทบาทเป็นศูนย์กิจกรรมเพื่อสังคม ในขณะที่ดูแลลูก ๆ ของเธอทั้งสองคน ทิฟฟานีก็ได้สร้างสรรค์ผลงานสำหรับนิทรรศการนี้ไปในขณะเดียวกัน เธอจึงได้เป็นตัวอย่างที่แสดงให้เห็นถึงการทำงานศิลปะร่วมสมัยรูปแบบใหม่ ที่เปิดโอกาสให้ผู้หญิง ซึ่งเป็นทั้งศิลปินและแม่ในเวลาเดียวกัน ได้พักอาศัยและทำงานในบรรยากาศของที่พักที่สะดวกและเป็นมิตร
ผลงานของทิฟฟานี ได้เข้าไปสำรวจความท้าทายที่ศิลปินหญิงต้องประสบพบเจอ ผ่านการศึกษาค้นคว้าและวิจัย ในเรื่องวิถีการปฏิบัติตามธรรมเนียม โดยงานของเธอได้พูดถึงบริบทของงานวิจิตรศิลป์ จากจารีตประเพณีแบบดั้งเดิม สู่ความร่วมสมัย
งานครั้งนี้ได้เข้าไปสำรวจเรื่องราวการปลดแอกของผู้หญิงผ่านวัตถุที่พบเห็นได้ทั่วไปในบ้าน ความร่วมมือต่าง ๆ เชื่อมโยงการมีส่วนร่วมของผู้หญิงในศาสตร์และศิลป์แขนงต่าง ๆ เข้าไว้ด้วยกัน ความสัมพันธ์ก่อให้เกิดเรื่องเล่าเกี่ยวกับเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ อัตลักษณ์ และทักษะทางเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับการผลิตงาน ‘ของผู้หญิง’ นิทรรศการนี้ถือเป็นโอกาสในการได้เรียนรู้และชี้ให้เห็นถึงประเด็นที่ศิลปินผู้หญิงประสบพบเจอ ผ่านมุมมองของการปฏิบัติและการส่งสัญญาณอันลุ่มลึก นิทรรศการ “The Pink Period” ถือเป็นการเปิดตัวอย่างเป็นทางการ (Grand Opening) ของ Bangkok 1899 โดยนิทรรศการได้จัดแสดงตั้งแต่วันที่ 7 กันยายน - 10 พฤศจิกายน 2562
ศิลปินสัญชาตินิวซีแลนด์ ทิฟฟานี ซิงห์ มีความสนใจในศาสตร์หลายแขนง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสาขาศิลปะ การศึกษา และความเป็นอยู่ ตลอดระยะเวลาสามเดือนที่ทิฟฟานีเป็นศิลปินในพำนักนั้น เธอได้ช่วยการยกระดับ และเปลี่ยนแปลง Bangkok 1899 ให้มีบทบาทเป็นศูนย์กิจกรรมเพื่อสังคม ในขณะที่ดูแลลูก ๆ ของเธอทั้งสองคน ทิฟฟานีก็ได้สร้างสรรค์ผลงานสำหรับนิทรรศการนี้ไปในขณะเดียวกัน เธอจึงได้เป็นตัวอย่างที่แสดงให้เห็นถึงการทำงานศิลปะร่วมสมัยรูปแบบใหม่ ที่เปิดโอกาสให้ผู้หญิง ซึ่งเป็นทั้งศิลปินและแม่ในเวลาเดียวกัน ได้พักอาศัยและทำงานในบรรยากาศของที่พักที่สะดวกและเป็นมิตร
ผลงานของทิฟฟานี ได้เข้าไปสำรวจความท้าทายที่ศิลปินหญิงต้องประสบพบเจอ ผ่านการศึกษาค้นคว้าและวิจัย ในเรื่องวิถีการปฏิบัติตามธรรมเนียม โดยงานของเธอได้พูดถึงบริบทของงานวิจิตรศิลป์ จากจารีตประเพณีแบบดั้งเดิม สู่ความร่วมสมัย
งานครั้งนี้ได้เข้าไปสำรวจเรื่องราวการปลดแอกของผู้หญิงผ่านวัตถุที่พบเห็นได้ทั่วไปในบ้าน ความร่วมมือต่าง ๆ เชื่อมโยงการมีส่วนร่วมของผู้หญิงในศาสตร์และศิลป์แขนงต่าง ๆ เข้าไว้ด้วยกัน ความสัมพันธ์ก่อให้เกิดเรื่องเล่าเกี่ยวกับเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ อัตลักษณ์ และทักษะทางเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับการผลิตงาน ‘ของผู้หญิง’ นิทรรศการนี้ถือเป็นโอกาสในการได้เรียนรู้และชี้ให้เห็นถึงประเด็นที่ศิลปินผู้หญิงประสบพบเจอ ผ่านมุมมองของการปฏิบัติและการส่งสัญญาณอันลุ่มลึก นิทรรศการ “The Pink Period” ถือเป็นการเปิดตัวอย่างเป็นทางการ (Grand Opening) ของ Bangkok 1899 โดยนิทรรศการได้จัดแสดงตั้งแต่วันที่ 7 กันยายน - 10 พฤศจิกายน 2562
Women’s Art Project Asia
Tiffany Singh and Taiwanese artist Jui-Pin Chang's collaborative project, Women’s Art Project Asia, aims to foster social bonds within the art world and beyond. This includes improved well-being, an enhanced sense of self/self-efficacy and economic gains for women artists. Expanding on the research gathered from The Taipei Artist Village residency (Taiwan), the project explores the challenges faced by women in creative practice. This social practice inquiry delves into how societal expectations, family obligations and being classified as a minority voice within the power structure of the art world.'Women’s Art Project Asia' เป็นโครงการร่วมระหว่างทิฟฟานี ซิงห์ และ ศิลปินชาวไต้หวัน Jui-Pin Chang โดยมีจุดประสงค์เพื่อกระตุ้นให้เห็นถึงความเชื่อมโยงทางสังคมกับโลกแห่งศิลปะและมิตินอกเหนือจากนั้น รวมถึงด้านความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ความรู้สึกมั่นใจในตัวตนและการพึ่งพาตนเองได้ที่ได้รับการส่งเสริมมากขึ้น และการพัฒนาด้านรายได้ในกลุ่มศิลปินหญิง โครงการนี้ต่อยอดมาจากงานวิจัยค้นคว้าของทิฟฟานี จากการพักอาศัยที่ The Taipei Artist Village ที่ไต้หวัน โดยโครงการนี้จะสำรวจความท้าทายและปัญหาที่ผู้หญิงต้องเผชิญในการทำงานสร้างสรรค์ต่าง ๆ งานค้นคว้าเพื่อสังคมในครั้งนี้มุ่งเจาะลึกไปในประเด็นด้านความคาดหวังทางสังคม หน้าที่ภายในครอบครัว และการเป็นเสียงส่วนน้อยที่ถูกกดทับด้วยโครงสร้างทางอำนาจในโลกศิลปะ
Jui-Pin Chang 張瑞頻
Jui-Pin Chang's work examines the position of woman artist in Taiwan society. Chang uses her practice to exchange traditional techniques to the contemporary concept. This enables her to reflect on the deep foundations in the Chinese art tradition, global history and the newly formed Internet politics of this.Her iconic works use images that signify power from mainstream media and the Internet. She re-examines conditioned realities and deconstructs them into critical comments about the status of humans in an era largely dominated by virtual and digital worlds.
งานของ Jui-Pin Chang (หยูว-ปิน-จาง) มุ่งเน้นสำรวจบทบาทของศิลปินผู้หญิงในสังคมไต้หวัน โดยจางใช้งานของเธอในการถ่ายทอดเทคนิคทางศิลปะแบบดั้งเดิมเข้าไปผสมผสานกับแนวคิดร่วมสมัย ซึ่งทำให้สามารถสะท้อนให้เห็นถึงรากฐานที่อยู่เบื้องลึกของศิลปประเพณีของจีน องค์ประวัติศาสตร์ทั่วโลก และแนวคิดทางการเมืองรูปแบบใหม่ที่เกิดขึ้นบนโลกอินเทอร์เน็ต
งานศิลปะที่น่าจดจำของเธอได้ใช้รูปภาพในการชี้ให้เห็นถึงอำนาจจากสื่อกระแสหลักและโลกอินเทอร์เน็ต โดย Jui-Pin Chang ได้นำความเป็นจริงที่อยู่ภายใต้เงื่อนไขต่าง ๆ มาศึกษาใหม่ รื้อถอน ประกอบร่าง และตีความ ก่อนจะแตกผลที่ได้ออกมาเป็นความเห็นวิพากษ์วิจารณ์ต่อสถานะของมนุษย์ ในยุคที่ถูกครอบงำด้วยโลกแห่งเทคโนโลยีดิจิทัลและภาพเสมือนจริง
Project link: womensartprojectasia.tumblr.com